วันอาทิตย์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

ครั้งที่ 12

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12
วันที่ 22 มีนาคม 2559
เวลา 14.30 น. -17.30 น.


ความรู้ที่ได้รับ

   1.หน่วย ส้ม
      ผู้สอนกิจกรรมเคลื่อนไหวจังหวะ (วันพุธ ผู้สอนมธุริน  อ่อนพิม์ ) อาจารย์ให้คำแนะนำว่าครูไม่ควรเคาะจังหวะ  ควรบอกเด็กไเลยว่าให้ทำอะไรบ้างและไม่ควรพูดว่าให้เด็กเคลื่อนไหวตามจังหวะที่ครูเคาะ
      ผู้สอนกิจกรรมเคลื่อนไหวจังหวะ (วันพหัสบดี ผู้สอนสกาวเดือน  สะอึ้งทอง) ในการเคลื่อนไหวตามคำสั่งครูควรสั่งที่ละอย่าง ครูต้องให้เด้กได้เคลื่อนไหวก่อนถึงจะสั่งเพิ่ม

   2. หน่วย เห็ด 
      ผู้สอนกิจกรรมเคลื่อนไหวจังหวะ (วันพุธ ผู้สอนภัสสร  ศรีพวาทกุล ) กิจกรรมพื้นฐานสามารถให้เด็กเดินด้วยปลายเท้าส้นเท้า เพราะ เด็กจะได้ไม่เบื่อให้มีการเคลื่อนไหวหลายรูปแบบ
      ผู้สอนกิจกรรมเคลื่อนไหวจังหวะ (วันพหัสบดี ผู้สอนพรพิมล  ปาผล)  สาระที่ควรเรียนรู้ นำไปประกอบอาหาร

   3. หน่วย กล้วย
       ผู้สอนกิจกรรมเคลื่อนไหวจังหวะ (วันพุธ ผู้สอนกันยารัตน์ หนองหงอก) อาจารย์ว่าไม่ควรเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย 2 วัน ติดต่อกันเพราะจะทำให้เด็กเบื่อ และครูต้องพูดโยงเข้าส่วนของเนื้อหาประโยชน์ของกล้วย เช่น กินแล้วท้องไม่ผูกช่วยในระบบขับถ่าย 
       ผู้สอนกิจกรรมเคลื่อนไหวจังหวะ (วันพหัสบดี ผู้สอน) 

   4. หน่วย ผีเสื้อ
       ผู้สอนกิจกรรมเคลื่อนไหวจังหวะ (วันพุธ ผู้สอน ) วรมิตร สุภาพ อาจารย์แนะนำว่าครูควรเคาะจังหวะพื้นก่อนค่อยเปลี่ยนคำสั่ง 
       ผู้สอนกิจกรรมเคลื่อนไหวจังหวะ (วันพหัสบดี ผู้สอน) ณัฐชยา ชาญณรงค์ สอนเกี่ยวกับกาผสมเกสรดอกไม้และการเปลี่ยแปลงสีของผีเสื้อ


   5. หน่วย ผัก
       ผู้สอนกิจกรรมเคลื่อนไหวจังหวะ (วันพุธ ผู้สอน ) ทิพย์มณี สมศรี การเคลื่อนไหวตามคำบรรยายผักประเภทที่กินผล คือ ฝักทอง ประเภทกินหัว คือแครอทและบอกวิธีการเลือกซื้อให้เด็ก
       ผู้สอนกิจกรรมเคลื่อนไหวจังหวะ (วันพหัสบดี ผู้สอน) อินธุอร ศรีบุญชัย ครูบรรยายให้เด็กไปเก็บผักแล้วนำไปขาย

   6. หน่วย ยานพาหนะ
       ผู้สอนกิจกรรมเคลื่อนไหวจังหวะ (วันพุธ ผู้สอน ) อรุณี พระนารินทร์ ในการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนไหวครูอาจให้เด็กเดินด้วย ปลายเท้า ส้นเท้า
       ผู้สอนกิจกรรมเคลื่อนไหวจังหวะ (วันพหัสบดี ผู้สอน) ธนาภรณ์ ใจกล้า ควรมีการเคลื่อนไหวที่หลากหลาย



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น